Tuesday, March 20, 2012

โครงสร้างพระวินัยปิฎก

โครงสร้างชั้นบาลี หมายถึง พระพุทธพจน์ หรือข้อความที่มีมาในพระไตรปิฎก จัดออกแบ่งเป็น ๕ คัมภีร์ เรียกชื่อย่อว่า อา ปา ม จุ ป โดยสังเขปนัยแห่งอักษร หมายเฉพาะพระวินัย ตั้งแต่ปาราชิกถึงสังฆาทิเสส ปา = ปาจิตตีย์ เป็นชื่ออาบัติในปาติโมกข์ เฉพาะตั้งแต่ถัดสังฆาทิเสสลงมา ทั้ง ๒ หัวข้อนี้ เป็นการย่ออย่างจับความมากกว่าย่อตามชื่อหมวดหมู่ จึงไม่ตรงกับชื่อที่ใช้เป็นทางการในวินัยปิฎก
พระวินัยปิฎก มี ๕ อักษรคือ
อา = อาทิกัมมิกะ
ปา = ปาจิตตีย์

วินัยปิฎกทั้งหมด
 
                     = มหาวรรค
จุ  = จุลวรรค
  = ปริวาร

พระไตรปิฎกบาลี

อรรถกถา
เล่มที่ -
. พระวินัยปิฎก ว่าด้วย สิกขาบทและบทบัญญัติต่าง ๆ ภิกษุสงฆ์มี ๒๑๐๐๐ พระธรรมขันธ์แบ่งเป็น ๓ หมวดหรือ ๕ คัมภีร์คือ
(ฎีกาสารัตถทีปนี ภาค ๑-)
เล่มที่ -
.วิภังค์ หรือ สุตตวิภังค์ ว่าด้วย สิกขาบทใสพระปาติโมกข์ของภิกษุสงฆ์ ซึ่งเป็นอาทิพรหมจริกะแบ่งเป็น ๒ คัมภีร์ คือ
เล่มที่ -
) มหาวิภังค์ ว่าด้วย สิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์ของฝ่ายภิกษุสงฆ์
(ฎีกาสารัตถทีปนี ภาค ๑-)
เล่มที่
) ภิกษุณีวิภังค์ ว่าด้วย สิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์ของฝ่ายภิกษุณีสงฆ์
เล่มที่ -
วิภังค์อาจแบ่งได้อีกอย่างหนึ่งคือ
) อาทิกัมม์ หรือปาราชิก ว่าด้วย สิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนัก คือตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต
) ปาจิตตีย์ ว่าด้วย สิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบา คือตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ไปจนถึงเสขิยะ และรวมเอาภิกขุนีวิภังค์เข้าไว้ด้วย

เล่มที่ ๔-
. ขันธกะ ว่าด้วยบทบัญญัติต่าง ๆ เกี่ยวกับสังฆกรรม ความเป็นอยู่ของพระสงฆ์ วัตรปฏิบัติ มารยาท และความประพฤติทั่ว ๆ ไป เพื่อความงามของสงฆ์เป็นฝ่ายอภิสมาจาร แบ่งเป็น ๒ วรรค มี ๒๒ ขันธกะคือ
สมันตปาสาทิกา ภาค ๓
(ฎีกาสารัตถทีปนี ภาค ๔)
เล่มที่ ๔-
) มหาวรรค มี ๑๐ ขันธกะ

เล่มที่ ๖-
) จุลวรรค มี ๑๒ ขันธกะ


. ปริวาร ว่าด้วย สรุปความหรือคู่มือแห่งพระวินัยปิฎกทั้งหมด ตั้งเป็นรูปคำถาม คำตอบ เพื่อสะดวกแก่การสอนและการซักซ้อม ความเข้าใจข้อธรรมบ้าง
สมันตปาสาทิกา ภาค ๓
(ฎีกาสารัตถทีปนี ภาค ๔)


No comments:

Post a Comment